LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 8475 |
003 ULIBM |
008 200910s2553||||th 000 0 tha d |
040 bcnu-c^cbcnu-c
|
041 0 tha^beng
|
090 วจ^bน313ก
|
100 0 นวลใย พิศชาติ
|
245 10 การพัฒนารูปแบบการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติ (การรักษาโรคเบื้องต้น) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี : ยุทธวิธีการอบรมแบบหุ้นส่วน /^cนวลใย พิศชาติ และคณะ
|
260 ^c2553
|
300 150, [20] แผ่น
|
502 รายงานการวิจัยได้รับทุนอุดหนุนจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี , 2553
|
520 3 ^aการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา(Research and Development) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติ (การรักษาโรคเบื้องต้น) วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี อุดรธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพผู้เข้าอบรม จำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามความคิดเห็น รูปแบบการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติ และความคิดเห็นอื่นๆ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยดำเนินการเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 มิถุนายน 2553 ระยะเวลา รวม 1 ปี 6 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ และร้อยละ วิเคราะห์ความคิดเห็นด้วยสถิติค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เนื้อหา(Content Analysis) และข้อเสนอแนะ ด้วยสถิติความถี่และ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 94.6 อายุช่วง 27 32 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.2 ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการคิดเป็นร้อยละ 86.5 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 96.7 รูปแบบการอบรม ประกอบด้วย 1) อธิบายรายละเอียด (Expand) ประวัติความเป็นมาของการอบรม 2) การประเมินความต้องการ (Need Assessment) 3) การสร้างหลักสูตร (Establish) 4) การออกแบบการอบรม (Design) วิธีการ และเครื่องมือให้เรียบร้อยก่อนการอบรม 5) การประกาศใช้หลักสูตร (Deliver) ให้แก่บุคคลและหน่วยงานก่อนนำสู่การปฏิบัติ โดยบูรณาการระบบหุ้นส่วน (Joint venture) ในทุกกระบวนการดำเนินงาน การใช้เทคนิคในการอบรม ประกอบด้วย 1) ผู้เข้าอบรมได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง(Self Learning) 2) การเรียนการสอนพร้อมสาธิต (Teaching and Demonstrate) โดยใช้ระบบอาจารย์พี่เลี้ยงในพื้นที่ 3) การฝึกปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (Practice) ในพื้นที่ 4) การฝึกอบรมทฤษฎีอย่างเข้ม (Intensive Training) ภายหลังการฝึกภาคปฏิบัติอีกครั้ง 5) การประเมินความรู้ และทักษะปฏิบัติหลังการอบรม 6) การจัดอบรมโดยใช้หน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพยาบาลในพื้นที่ปฏิบัติงานที่เป็นเครือข่าย(Networking) และเป็นหุ้นส่วน(Joint venture) 7) การแบ่งระยะเวลาที่เหมาะสม มีผู้ป่วยจริงใช้ในกระบวนการการพัฒนาผู้เข้าอบรม 8) ทดสอบผู้ผ่านการอบรมด้านทักษะปฏิบัติในระดับชำนาญ ผลการสำรวจความพึงพอใจในรูปแบบการอบรมของผู้เข้าอบรมพบว่าอยู่ในระดับมาก
|
650 7 พยาบาลเฉพาะทาง^xการอบรม
|
650 7 การรักษาโรคเบื้องต้น^xการอบรม
|
650 7 การพัฒนารูปแบบการอบรม
|
650 7 เวชปฏิบัติ^xการอบรม
|
650 7 การอบรมแบบหุ้นส่วน
|
710 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี.^bสถาบันพระบรมราชชนก.^bสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
|
945 ^p0^l0^i34563
|
945 ^p0^l0^i34564
|
945 ^p0^l0^i34565
|
945 ^p0^l0^i34566 |
995 วจ
|
999 พรปวีณ์
|